สรุปการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพจังหวัดร้อยเอ็ด ปี 2567 - 2570

ผลการประเมิน รายยุทธศาสตร์

ผลการประเมิน รายตัวชี้วัด
ชื่อตัวชี้วัด Target Result % เกณฑ์ สรุปผล
ยุทธศาสตร์ที่ 1 P&P Excellence
ร้อยละของเด็ก 0 - 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 0 0 0 90
ไม่ Ranking
ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA 4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่นจนมีพัฒนาการสมวัย 0 0 0 35
ไม่ Ranking
อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อจำนวนประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน 0 0 0 9
ไม่ Ranking
ร้อยละของเด็กอายุ 6 - 14 ปี สูงดีสมส่วน 0 0 0 63
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองพบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ 0 0 0 60
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรองพบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ 0 0 0 65
ไม่ Ranking
ร้อยละของกลุ่มอายุ 40 ปีขึ้นไป ที่ได้รับการคัดกรอง PMDs 0 0 0 55
ไม่ Ranking
อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน 0 0 0 90
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิต ที่มีคุณภาพ 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์ และสาธารณสุข (Emergency Care System and Public Health Emergency Management) 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน 0 0 0 72
ไม่ Ranking
ร้อยละการตรวจติดตามกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง 0 0 0 90
ไม่ Ranking
ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานปีที่ผ่านมา (Pre-DM)  0 0 0 1.75
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่จากผู้ที่มีระดับความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์เกือบสูง(กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง) 0 0 0 3
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี 0 0 0 50
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี 0 0 0 75
ไม่ Ranking
ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต (คบส.) 0 0 0 80
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานสถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมายกำหนด 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ 0 0 0 75
ไม่ Ranking
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์ครบ 8 ครั้งคุณภาพ 0 0 0 55
ไม่ Ranking
ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการได้รับยาเม็ดที่มีส่วนประกอบของไอโอดีน 0 0 0 100
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ 0 0 0 90
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan) 0 0 0 60
ไม่ Ranking
ยุทธศาสตร์ที่ 2 Service Excellence
ร้อยละการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562 0 0 0 50
ไม่ Ranking
ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสม ให้กับประชาชน 0 0 0 80
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนและอยู่ในพื้นที่ ได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจ (CVD Risk) 0 0 0 90
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบ/ อุดตัน (I63) ได้รับการตรวจไขมัน LDLและมีค่า LDL <100 mg/dl 0 0 0 15
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของร้อยละค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักของอำเภอใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU District) 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของการลดอัตราตายทารกแรกเกิด น้อยกว่า 28 วัน 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ 0 0 0 80
ไม่ Ranking
ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 0 0 0 19
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของการจัดบริการการดูแลผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรง 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ร้อยละประชากรได้การคัดกรองภาวะสุขภาพจิตเชิงรุก 0 0 0 20
ไม่ Ranking
ร้อยละประชากรกลุ่มเสี่ยงภาวะสุขภาพจิตได้รับการติดตาม 0 0 0 100
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ 0 0 0 83
ไม่ Ranking
อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จไม่เกิน 8 ต่อแสนประชากร 0 0 0 8
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก 0 0 0 60
ไม่ Ranking
ร้อยละของประชากรกลุ่มเป้าหมายอายุ 50-70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ ไส้ตรง 0 0 0 80
ไม่ Ranking
ร้อยละผู้ป่วยไตเรื้อรัง stage 5 รายใหม่ ลดลงน้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีงบประมาณก่อนหน้า 0 0 0 10
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยระยะประคับประคอง (Palliative care) ที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญาชาทางการแพทย์ 0 0 0 7
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยทั้งหมดที่ได้รับการรักษาด้วยยากัญชาทางการแพทย์ 0 0 0 100
ไม่ Ranking
ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน 0 0 0 30
ไม่ Ranking
อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานตามที่กำหนด 0 0 0 20
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาศูนย์เวลเนส (Wellness Center)/ แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วมและสร้างสรรค์ ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ ทางเลือก และสมุนไพรให้มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จการดำเนินงานการเข้าถึงการแสดงความจำนงในการบริจาคอวัยวะ 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง Acute Stroke ที่มาโรงพยาบาล ภายใน 270 นาที หลังเกิดอาการ 0 0 0 25
ไม่ Ranking
อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ 0 0 0 88
ไม่ Ranking
อัตราความครอบคลุมการขึ้นทะเบียนของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 0 0 0 90
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate) 0 0 0 62
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการวินิจฉัย บำบัด รักษา และติดตามดูแลช่วยเหลือ ตามระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง 0 0 0 90
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care* ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลางและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ก่อนครบ 6 เดือน 0 0 0 100
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care* (ผู้ป่วยใน) มีค่าคะแนน Barthel index เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 2 คะแนน เมื่อได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลางในหอผู้ป่วย IMC ward/bed 0 0 0 60
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care* (ผู้ป่วยนอก) ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง จำนวนมากกว่าหรือ เท่ากับ 6 ครั้ง ภายในระยะเวลา 6 เดือน 0 0 0 85
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care ที่ได้รับการเยี่ยมติดตาม และบันทึกข้อมูลในโปรแกรม Nemo Care 0 0 0 100
ไม่ Ranking
ร้อยละของผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาตระยะกลาง (Intermediate Care) ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (Community base) 0 0 0 20
ไม่ Ranking
ร้อยละการตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิใบไม้ตับในประชาชนอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไป 0 0 0 95
ไม่ Ranking
คัดกรองมะเร็งท่อน้ำดีด้วยการอัลตร้าซาวด์ในประชาชนกลุ่มเสี่ยงอายุ ๔๐ ปี ขึ้นไป 0 0 0 95
ไม่ Ranking
ยุทธศาสตร์ที่ 3 People Excellence
ร้อยละของบุคลากรที่เข้าใช้งานระบบข้อมูลรายบุคคล NonHR 0 0 0 100
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของหน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ยุทธศาสตร์ที่ 4 Governance Excellence
ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์ การประเมิน ITA 0 0 0 100
ไม่ Ranking
ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การตรวจสอบและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน 0 0 0 80
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของการประเมินส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐผ่านเกณฑ์ที่กำหนด 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของสถานบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินตามนโยบาย EMS (Environment, Modernization and Smart Service) 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของโรงพยาบาลมี การสั่ง Lab อย่างสมเหตุผล RLU(Ration Lab Use) 5 0 0 5
ไม่ Ranking
จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนด 0 0 0 10
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของหน่วยบริการที่มีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังที่มีประสิทธิภาพ 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จการประเมินศูนย์จัดเก็บรายได้คุณภาพของหน่วยบริการ 5 0 0 5
ไม่ Ranking
ระดับความสำเร็จของการพัฒนานวัตกรรมหรือเทคโนโลยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด 5 0 0 5
ไม่ Ranking

Ranking ภาพรวมลำดับอำเภอ

 ที่มา : งานข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการประเมินผล กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดร้อยเอ็ด ข้อมูล ณ วันเสาร์ที่ 18 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2567 เวลา 15:24 น.
 1.